พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
KK..$$$ ((กรรมก...
KK..$$$ ((กรรมการ)) เบ้าทุบ เนื้อสตางค์ หลวงปู่ทวด รุ่นกฐิน ปี 2540 $$$..KK
พิมพ์สวยงามมากครับ อุดผงว่านและผงปี 2497 องค์นี้ ตอกโค็ด กรรมการ 2 ครั้ง และหมายเลขประจำองค์คือ 180 .... มาดูกรรมวิธีทำพระเบ้าทุบ จะเป็นการหล่อพระตามแบบโบราณ คือ หล่อเบ้าละ 1 องค์ เมื่อเนื้อพระแข็งจับตัวกันดีแล้วจึงทุบเบ้าให้แตกออก แล้วนำพระออกมาจะทำเช่นนี้ทุกองค์ ไม่ว่า องค์พระจะเล็กหรือใหญ่ก็ตาม (จะไม่ใช่การหล่อโบราณ แบบช่อ ที่มีการหล่อเบ้าเดียวได้พระ 20-30องค์) เมื่อนำองค์พระออกมาแล้ว ก็อาจจะนำมาเข้าพิธี หรือ นำองค์พระไปบูชาต่อไป การทำพระเบ้าทุบนั้น ถือว่า สร้างความสำคัญให้กับรูปองค์พระ แต่ก็ทำให้ต้องยุ่งยากเสียเวลา เสียงบประมาณมากครับ คือ ตั้งแต่ ผูกโครงลวด เอาดินทำเบ้าอัดประกอบให้แน่นกับแบบ.....รวมถึงการที่จะต้องเทน้ำโลหะเหลวๆ ร้อนๆ ให้ พอดี ไม่มากไม่น้อย ทีละองค์เลย ครับ (กรณีพระองค์เล็กๆ จะเห็นที่ฐานองค์พระเป็นก้อนกลมๆนั้น คือเศษเหลือของน้ำโลหะและเป็นรูปลักษณ์เฉพาะของพระเบ้าทุบ) เมื่อเนื้อพระแข็ง ก็ต้องทุบอย่างระมัดระวัง ทุบแรงไปองค์พระก็เสียหาย อาจจะขาดจำนวนตามที่ระลุในการสร้างได้ ทำให้พระเบ้าทุบ มีการจัดสร้างกันน้อย และก็สร้างกัน ครั้งละจำนวนไม่มาก รวมทั้งมีราคาค่าบูชาแพง
ผู้เข้าชม
997 ครั้ง
ราคา
99999
สถานะ
โชว์พระ
โดย
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
ร้านค้า
-
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
-
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
ยังไม่ส่ง ข้อมูลยืนยันตัวตน

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
fuchoo18Erawanponsrithong2พล ปากน้ำแมวดำ99chathanumaan
tatingtatingด้วง เกิดผลtermboonkumphaนิสสันพระเครื่องหนองคายchaithawat
KumpangBAINGERNน้ำตาลแดงPumneeNithipornมัญจาคีรี ud
tintinพีช อัครกรัญระยองเปียโนbank...900eknarin
jochoPolkisanaทองธนบุรีBungสมเกียรติ23จ่าดี พระกรุ

ผู้เข้าชมขณะนี้ 1374 คน

เพิ่มข้อมูล

KK..$$$ ((กรรมการ)) เบ้าทุบ เนื้อสตางค์ หลวงปู่ทวด รุ่นกฐิน ปี 2540 $$$..KK




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
KK..$$$ ((กรรมการ)) เบ้าทุบ เนื้อสตางค์ หลวงปู่ทวด รุ่นกฐิน ปี 2540 $$$..KK
รายละเอียด
พิมพ์สวยงามมากครับ อุดผงว่านและผงปี 2497 องค์นี้ ตอกโค็ด กรรมการ 2 ครั้ง และหมายเลขประจำองค์คือ 180 .... มาดูกรรมวิธีทำพระเบ้าทุบ จะเป็นการหล่อพระตามแบบโบราณ คือ หล่อเบ้าละ 1 องค์ เมื่อเนื้อพระแข็งจับตัวกันดีแล้วจึงทุบเบ้าให้แตกออก แล้วนำพระออกมาจะทำเช่นนี้ทุกองค์ ไม่ว่า องค์พระจะเล็กหรือใหญ่ก็ตาม (จะไม่ใช่การหล่อโบราณ แบบช่อ ที่มีการหล่อเบ้าเดียวได้พระ 20-30องค์) เมื่อนำองค์พระออกมาแล้ว ก็อาจจะนำมาเข้าพิธี หรือ นำองค์พระไปบูชาต่อไป การทำพระเบ้าทุบนั้น ถือว่า สร้างความสำคัญให้กับรูปองค์พระ แต่ก็ทำให้ต้องยุ่งยากเสียเวลา เสียงบประมาณมากครับ คือ ตั้งแต่ ผูกโครงลวด เอาดินทำเบ้าอัดประกอบให้แน่นกับแบบ.....รวมถึงการที่จะต้องเทน้ำโลหะเหลวๆ ร้อนๆ ให้ พอดี ไม่มากไม่น้อย ทีละองค์เลย ครับ (กรณีพระองค์เล็กๆ จะเห็นที่ฐานองค์พระเป็นก้อนกลมๆนั้น คือเศษเหลือของน้ำโลหะและเป็นรูปลักษณ์เฉพาะของพระเบ้าทุบ) เมื่อเนื้อพระแข็ง ก็ต้องทุบอย่างระมัดระวัง ทุบแรงไปองค์พระก็เสียหาย อาจจะขาดจำนวนตามที่ระลุในการสร้างได้ ทำให้พระเบ้าทุบ มีการจัดสร้างกันน้อย และก็สร้างกัน ครั้งละจำนวนไม่มาก รวมทั้งมีราคาค่าบูชาแพง
ราคาปัจจุบัน
99999
จำนวนผู้เข้าชม
1002 ครั้ง
สถานะ
โชว์พระ
โดย
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
URL
-
เบอร์โทรศัพท์
029355696
ID LINE
-
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
ยังไม่ส่ง ข้อมูลยืนยันตัวตน




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี